โครงการ RPU UI Green Metric (Green University)

กิจกรรม

มี.ค./Mar เม.ษ./Apr พ.ค./May 

มิ.ย./Jun

ก.ค./Jul

ส.ค./Aug

ก.ย./Sep

ต.ค./Oct
1. แต่งตั้งคณะกรรมการ โครงการ RPU UI Green Metric (Green University)

2. ประชุมคณะกรรมการ โครงการ RPU UI Green Metric (Green University)
3. คณะกรรมการจัดทำ/รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องตามความรับผิดชอบ
4. ประธานและคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องตรวจสอบข้อมูลทั้งหมด (Version Thai)
5. แปลเอกสารเป็นภาษาอังกฤษ
6. ประธานและคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องตรวจสอบข้อมูลทั้งหมด (Version Eng.)
7. นำข้อมูลทั้งหมด ส่งเข้าระบบ UI GreenMetric

เกณฑ์ RPU GreenMetric 2024

ที่

เกณฑ์

คะแนนเต็ม

คะแนนที่คาดว่า

1

การตั้งค่าและโครงสร้างพื้นฐาน (SI)

1,500

2

พลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (EC)

2,100

3

ของเสีย (WS)

1,800

4

น้ำ (WR)

1,000

5

การคมนาคม (TR)

1,800

6

การศึกษาและการวิจัย (ED)

1,800

รวม

10,000

ตัวชี้วัดตามเกณฑ์การจัดอันดับมหาวิทยาลัยสีเขียวโลก ยูไอ กรีนเมตริก (UI GreenMetric)

หมวดที่ 1. สถานที่และโครงสร้างพื้นฐาน

ข้อ รายการ (คำถาม) รายละเอียด (ข้อมูลคำตอบ) คะแนนประเมิน เอกสารหลักฐาน
1.1 ประเภทของสถานศึกษา
1.2 ภูมิอากาศ
1.3 จำนวนของวิทยาเขต
1.4 สถานที่ของวิทยาเขตหลัก
1.5 พื้นที่ทั้งหมดของวิทยาเขตหลัก
1.6 พื้นที่ชั้นที่ 1 ของอาคารทั้งหมดในวิทยาเขตหลัก
1.7 อัตราส่วนพื้นที่เปิดโล่งต่อพื้นที่ทั้งหมด
1.8 สัดส่วนของพื้นที่เปิดโล่งต่อพื้นที่ทั้งหมด
1.9 พื้นที่ทั้งหมดในมหาวิทยาลัยที่มีลักษณะเป็นป่าไม้
1.10 พื้นที่ในมหาวิทยาลัยที่ใช้ปลูกต้นไม้
1.11 พื้นที่ทั้งหมดของมหาวิทยาลัยที่ใช้เป็นพื้นที่ดูดซึมน้ำนอกเหนือจากป่า และพื้นที่ปลูกต้นไม้
1.12 จำนวนนักศึกษาทั้งหมด
1.13 จำนวนนักศึกษาออนไลน์ทั้งหมด
1.14 จำนวนบุคลากรสายวิชาการและเจ้าหน้าที่
1.15 สัดส่วนพื้นที่เปิดโล่งต่อจำนวนประชากรทั้งหมดของวิทยาเขต
1.16 งบประมาณทั้งหมดของมหาวิทยาลัย
1.17 งบประมาณของมหาวิทยาลัยในส่วนความพยายามเพื่อความยั่งยืน
1.18 สัดส่วนงบประมาณของมหาวิทยาลัยในส่วนความพยายามเพื่อความยั่งยืน
1.19 สัดส่วนของการบำรุงรักษาอาคารในระยะเวลา 1 ปี
1.20 สิ่งอำนวยความสะดวกในสถานศึกษาสำหรับผู้ทุพพลภาพ ผู้ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษและสตรีตั้งครรภ์
1.21 สิ่งอำนวยความสะดวกด้านความมั่นคงและความปลอดภัย
1.22 สิ่งอำนวยความสะดวกด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านสุขภาพสำหรับนักศึกษา นักวิชาการและบุคลากร
1.23 การอนุรักษ์ : พืช สัตว์ ทรัพยากรทางพันธุกรรมเพื่ออาหารและการเกษตรที่ได้รับการอนุรักษ์และดูแลในระยะกลางหรือระยะยาว
1.24 การวางแผนการดำเนินการการติดตามและ/หรือการประเมินผลของโปรแกรมทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการตั้งค่าและโครงสร้างพื้นฐานผ่านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร(ICT)

หมวดที่  2. พลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (EC)

ข้อ รายการ(คำถาม) รายละเอียด (ข้อมูลคำตอบ) คะแนนประเมิน เอกสารหลักฐาน
2.1 การใช้อุปกรณ์ประหยัดพลังงาน
2.2 พื้นที่ที่เป็นส่วนอาคารอัจฉริยะทั้งหมด
2.3 การนำระบบอาคารอัจฉริยะมาใช้
2.4 แหล่งพลังงานทดแทนที่ใช้ในวิทยาเขต
2.5 แหล่งพลังงานหมุนเวียนและปริมาณพลังงานที่ผลิตได้
2.6 - ปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อปี (หน่วยเป็นกิโลวัตต์ชั่วโมง)
2.7 สัดส่วนการใช้ไฟฟ้าทั้งหมดต่อประชากรของวิทยาเขต
2.8 สัดส่วนการผลิตพลังงานหมุนเวียนหารด้วยการใช้พลังงานทั้งหมดต่อปี
2.9 องค์ประกอบของการดำเนินงานอาคารสีเขียวซึ่งแสดงให้เห็นในนโยบายการก่อสร้างและ การปรับปรุงมหาวิทยาลัย
2.10 โครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
2.11 - ปริมาณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ (การปล่อยก๊าซาร์บอนไดออกไซด์ ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา)
2.12 สัดส่วนคาร์บอนฟุตพริ้นท์ทั้งหมดต่อประชากรของวิทยาเขต(เมตริกตันต่อคน)
2.13 จำนวนโครงการนวัตกรรมด้านพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
2.14 โครงการของมหาวิทยาลัยที่มีความสำคัญต่อการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
2.15 การวางแผน การดำเนินการ ติดตาม และ/หรือประเมินผลโครงการทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ผ่านการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)

หมวดที่ 3. ขยะ (WS)

ข้อ รายการ(คำถาม) รายละเอียด (ข้อมูลคำตอบ) คะแนนประเมิน เอกสารหลักฐาน
3.1 โครงการ 3R (Reduce, Reuse, Recycling) สำหรับขยะของมหาวิทยาลัย
3.2 โครงการลดการใช้กระดาษและพลาสติกในมหาวิทยาลัย
3.3 ปริมาณขยะอินทรีย์ทั้งหมดที่ผลิตได้ (หน่วย: ตัน)
3.4 ปริมาณขยะอินทรีย์ทั้งหมดที่ได้รับการบำบัด (หน่วย: ตัน)
3.5 การจัดการของเสียอินทรีย์
3.6 ปริมาณขยะอนินทรีย์ทั้งหมดที่ผลิตได้ (หน่วย: ตัน)
3.7 ปริมาตรรวมของเสียอนินทรีย์ที่ถูกบำบัด (หน่วย: ตัน)
3.8 การจัดการของเสียอนินทรีย์
3.9 ปริมาตรรวมของเสียพิษที่ผลิตได้ (หน่วย: ตัน)
3.10 ปริมาตรรวมของเสียพิษที่ได้รับการบำบัด (หน่วย: ตัน)
3.11 การจัดการของเสียเป็นพิษ
3.12 การกำจัดสิ่งปฏิกูล
3.13 การวางแผน การดำเนินการ ติดตาม และ/หรือประเมินผลโครงการทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการจัดการของเสีย ผ่านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)

หมวดที่ 4. น้ำ (WR)

ข้อ รายการ(คำถาม) รายละเอียด (ข้อมูลคำตอบ) คะแนนประเมิน เอกสารหลักฐาน
4.1 โครงการอนุรักษ์น้ำ
4.2 โครงการนำน้ำเสียกลับมาใช้ใหม่
4.3 การใช้อุปกรณ์ประหยัดน้ำ
4.4 การใช้น้ำที่ผ่านการบำบัดแล้ว
4.5 การควบคุมมลพิษทางน้ำในบริเวณมหาวิทยาลัย
4.6 การวางแผน การดำเนินการ ติดตาม และ/หรือประเมินผลโครงการทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการจัดการน้ำ ผ่านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)

หมวดที่ 5. การขนส่ง (TR)

ข้อ รายการ(คำถาม) รายละเอียด (ข้อมูลคำตอบ) คะแนนประเมิน เอกสารหลักฐาน
5.1 - จำนวนรถยนต์ที่มหาวิทยาลัยเป็นเจ้าของ
5.2 - จำนวนรถยนต์ที่เข้ามาในมหาวิทยาลัยในแต่ละวัน
5.3 - จำนวนรถจักรยานยนต์ที่เข้ามาในมหาวิทยาลัยในแต่ละวัน
5.4 สัดส่วนของยานพาหนะ (รถยนต์และรถจักรยานยนต์) ต่อจำนวนประชากรของวิทยาเขต
5.5 บริการรถรับส่งสาธารณะ
5.6 - จำนวนรถรับส่งที่วิ่งในมหาวิทยาลัย
5.7 - จำนวนผู้โดยสารโดยเฉลี่ยต่อรถรับส่งแต่ละคัน
5.8 - จำนวนเที่ยวของรถรับส่งที่ให้บริการต่อคันต่อวัน
5.9 ความพร้อมใช้งานของยานพาหนะไร้มลพิษ (ZEV) ในวิทยาเขต
5.1 - จำนวนยานพาหนะไร้มลพิษที่เข้ามหาวิทยาลัยต่อวัน
5.11 สัดส่วนของยานยนต์ที่ปราศจาก การปล่อยมลพิษต่อจำนวนประชากรของวิทยาเขต
5.12 - พื้นที่จอดรถทั้งหมด
5.13 สัดส่วนพื้นที่จอดรถต่อพื้นที่ทั้งหมด
5.14 โครงการเพื่อการจำกัดหรือลดพื้นที่จอดรถในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา(พ.ศ. 2564 ถึง 2567)
5.15 จำนวนโครงการริเริ่มลด การใช้รถส่วนตัวในมหาวิทยาลัย
5.16 พื้นที่ทางเท้าภายในวิทยาเขต
5.17 - ระยะทางการเดินทางแต่ละวันโดยประมาณของยานพาหนะภายในวิทยาเขต
5.18 - การวางแผน การดำเนินการ การติดตาม และ/หรือการประเมินผลของโปรแกรมทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการขนส่ง ผ่านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)

หมวดที่ 6. การศึกษาและการวิจัย (ED)

ข้อ รายการ(คำถาม) รายละเอียด (ข้อมูลคำตอบ) คะแนนประเมิน เอกสารหลักฐาน
6.1 จำนวนรายวิชา/หลักสูตรที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนที่เปิดสอน
6.2 จำนวนรายวิชา/หลักสูตรทั้งหมดที่เปิดสอน
6.3 สัดส่วนของรายวิชา/หลักสูตรที่เกี่ยวกับความยั่งยืนต่อรายวิชา/หลักสูตรทั้งหมด
6.4 ทุนวิจัยทั้งหมดสำหรับงานวิจัยด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน (หน่วย: US Dollars)
6.5 ทุนวิจัยทั้งหมด (หน่วย: US Dollars)
6.6 สัดส่วนของทุนวิจัยด้านความยั่งยืนต่อทุนวิจัยทั้งหมด
6.7 จำนวนการตีพิมพ์งานด้านความยั่งยืน
6.8 จำนวนกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับความงยั่งยืน (สิ่งแวดล้อม)
6.9 จำนวนองค์กรนักศึกษาที่เกี่ยวข้องกับความยั่งยืน
6.1 เว็บไซต์เกี่ยวกับความยั่งยืนของมหาวิทยาลัย
6.11 เว็บไซต์ข้อมูลความยั่งยืนของมหาวิทยาลัย (ลิงค์)
6.12 รายงานความยั่งยืน
6.13 ที่อยู่ลิงก์รายงานความยั่งยืน (URL) หากมี
6.14 จำนวนกิจกรรมด้านวัฒนธรรมของสถานศึกษา (เช่น เทศกาลวัฒนธรรม) รวมถึงกิจกรรมเสมือนจริง
6.15 จำนวนโครงการความยั่งยืนของมหาวิทยาลัยที่มีความร่วมมือระหว่างประเทศ
6.16 จำนวนบริการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับความยั่งยืนที่จัดโดยมหาวิทยาลัยและ นักศึกษามีส่วนร่วม
6.17 จำนวนสตาร์ทอัพที่เกี่ยวข้องกับความยั่งยืน
6.18 จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานอยู่ในธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Jobs)ทั้งหมด (ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา)
6.19 ความพร้อมของหน่วยงานหรือสำนักงานที่ประสานงานด้านความยั่งยืนในวิทยาเขต
6.20 การวางแผน การดำเนินการ การติดตาม และ/หรือการประเมินผลของโปรแกรมทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาและการวิจัย ผ่านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)